งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง การลำเลียงสารในร่างกายคน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง การลำเลียงสารในร่างกายคน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง การลำเลียงสารในร่างกายคน
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง การลำเลียงสารในร่างกายคน Biology (40242) Miss Lampoei Puangmalai

2 บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.1.1โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.1.2 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน 6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.2.1 การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 6.2.2 การขับถ่ายของสัตว์ 6.2.3 การขับถ่ายของคน 6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.3.1 การลำเลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.3.2 การลำเลียงสารในร่างกายของคน 6.3.3 ระบบน้ำเหลือง

3 circulatory system

4 6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
6.3.1 การลำเลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.3.2 การลำเลียงสารในร่างกายของคน หัวใจ หลอดเลือด ส่วนประกอบของเลือด หมู่เลือดและการให้เลือด 6.3.3 ระบบน้ำเหลือง

5 การลำเลียงสารในร่างกายคน
ระบบหมุนเวียนเลือด มีโครงสร้างที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. หัวใจ (Heart) 2. เส้นเลือด (Blood vessel) 3. เลือด (Blood)

6

7 Blood

8 Blood เลือด ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ 1. น้ำเลือด (Plasma)
2. เม็ดเลือด (Blood corpuscle)

9 เลือด (Blood) เลือด (Blood) เลือดประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1. น้ำเลือด (Plasma) ประกอบด้วย น้ำ โปรตีน สารอนินทรีย์ ก๊าซ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์และไนโตรเจน ของเสีย เช่น ยูเรีย กรดยูริก และกรดแลคติก ฮอร์โมน และแอนติบอดี 2. เม็ดเลือด (Corpuscle) ได้แก่ 2.1 เม็ดเลือดแดง (Erythrocyte) มีโปรตีน Haemoglobin อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่ลำเลียงออกซิเจน 2.2 เม็ดเลือดขาว (Leukocyte) แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ  1. Phagocyte เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ทำลายเชื้อโรคโดยวิธี Phagocytosis (จับกิน) 2. Lymphocyte เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่สร้าง Antibody ขึ้นมา ต้านสิ่งแปลกปลอม 2.3 เกล็ดเลือด (Thrombocyte) ช่วยในการแข็งตัวของเลือด ข้อควรจำ         การแข็งตัวของเลือด ต้องอาศัยการทำงานร่วมกันของปัจจัยหลายประการ ได้แก่ เกล็ดเลือด , โปรตีน Fibringen , วิตามิน K และแคลเซียม

10 Blood Although blood looks like a red liquid, if some is left in a test tube it separates out into a pale liquid called plasma and a solid layer of blood cells. The blood is about 55% plasma and 45% cells.  Plasma is mostly water with some proteins and other chemicals dissolved in it.  There are 3 main types of cells in the blood White blood cells    Red blood cells    Platelets

11 Functions of the blood Blood performs two major functions:
transport through the body of oxygen and carbon dioxide food molecules (glucose, lipids, amino acids) ions (e.g., Na+, Ca2+, HCO3−) wastes (e.g., urea) hormones heat defense of the body against infections and other foreign materials. All the WBCs participate in these defenses.

12 1. plasma น้ำเลือด (plasma) เป็นส่วนที่เป็นของเหลวของเลือดทั้งหมด มีสีเหลืองอ่อน ค่อนข้างใส มีปริมาณ 55 % ของปริมาตรเลือด น้ำเลือดประกอบด้วย (ตาราง)

13 ส่วนประกอบ หน้าที่ 1. ปริมาณ 90 % ของน้ำเลือดทั้งหมด - ทำละลายของอาหาร ก๊าซ ของเสียต่างๆในเลือด - ช่วยลดความหนืดของเลือด ทำให้เลือดไหลเวียนได้ง่าย 2. โปรตีนชนิดต่างๆ - albumin(อัลบูมิน) - globulin (แกรมมาโกลบูลิน) - fibrinogen (ไฟบริโรเจน) - ทำให้เกิดแรงดันออสโมซิสในน้ำเลือด รักษาปริมาตรของเลือด และรักษาความสมดุลของน้ำในร่างกาย - เป็นตัวพาสารต่างๆ และสร้าง antibody - ช่วยทำให้เลือดแข็งตัว 3.โปรตีนที่ช่วยควบคุมและป้องกัน - antibody - hormone - enzyme - ช่วยป้องกันสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย - ช่วยควบคุมการทำงานของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ - ช่วยเร่งปฏิกิริยาเคมีให้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง 4. สารอินทรีย์ เช่น NaCl, Ca, K, Bicabonate, I - ถ้าเป็นของเสียจะถูกกำจัดออก ถ้าเป็นสารอาหารจะอยู่ในน้ำเลือด เพื่อส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆของเซลล์ 5. สารอนินทรีย์ เช่น ยูเรีย กรดยูริก แอมโมเนีย กรดอะมิโน กลูโคส ไขมัน - มีความสำคัญต่อความเป็นกรดเป็นด่างของร่างกาย ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ผนังเซลล์ การหดตัวของกล้ามเนื้อ การขนส่งก๊าซ 6. ก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์ - ใช้ในการหายใจ ส่วนใหญ่ถูกลำเลียงโดย haemoglobin ส่วนน้อยละลายในพลาสมา - ของเสียจากการหายใจ ส่วนใหญ่ละลายในพลาสมา ส่วนน้อยละลายใน haemoglobin

14 Plasma Plasma is the straw-colored liquid in which the blood cells are suspended. Composition of blood plasma Water ~92 Proteins 6-8 Salts Lipids Glucose (blood sugar) 0.1

15 Plasma Plasma transports materials needed by cells and materials that must be removed from cells: various ions (Na+, Ca2+, HCO3−, etc. glucose and traces of other sugars amino acids other organic acids cholesterol and other lipids hormones urea and other wastes

16 Plasma Most of these materials are in transit from a place where they are added to the blood (a "source") exchange organs like the intestine depots of materials like the liver to places ("sinks") where they will be removed from the blood. every cell exchange organs like the kidney, and skin.

17 Serum Proteins make up 6-8 % of the blood. They are about equally divided between serum albumin and a great variety of serum globulins. After blood is withdrawn from a vein and allowed to clot, the clot slowly shrinks. As it does so, a clear fluid called serum is squeezed out. Thus : Serum is blood plasma without fibrinogen and other clotting factors. The serum proteins can be separated by electrophoresis.

18 Blood

19 What's the difference between serum and plasma ?
Plasma is the liquid portion of the blood that is separated from the blood cells by centrifugation. One of the characteristics of plasma is that it clots easily which is important for hemophiliacs needing a transfusion but is a nuisance in most other applications. By agitating the plasma, one can precipitate the clotting factors as a large clot, and the leftover fluid is called serum. So, serum plus clotting factors is plasma, and clotted plasma yields serum (as an interesting aside, "serum" is Latin for whey, the liquid portion of clotted milk removed in making cheese).

20 2. blood corpuscle เม็ดเลือด (blood corpuscle) มีปริมาณ 45 % ของปริมาตรเลือดทั้งหมด ส่วนที่เป็นเม็ดเลือดประกอบด้วย 1. เม็ดเลือดแดง (erythrocyte หรือ red blood corpuscle) 2. เม็ดเลือดขาว (leucocyte หรือ white blood corpuscle) 3. แผ่นเลือด (platelet หรือ thrombocyte)

21 1.1 red blood corpuscle เม็ดเลือดแดง (erythrocyte หรือ red blood corpuscle) ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มีลักษณะกลมแบน ตรงกลางเว้าเข้าหากัน (biconcave) เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ไมครอน มีอายุประมาณ วัน มีรงควัตถุสีแดงที่เกี่ยวกับการหายใจ (respiratory pigment) เรียกว่า ฮีโมโกลบิน (haemoglobin)

22 Where blood cells are made ?
เมื่อเป็นทารก อยู่ในมดลูก เซลล์เม็ดเลือดแดงจะถูกสร้างมาจาก ถุงไข่แดง (yolk sac) ตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลือง และไขกระดูก หลังอายุ 20 ปี แหล่งสร้าง คือ ไขกระดูก โดยเฉพาะ กระดูกท่อนยาวๆ เช่น กระดูกโคนขา และกระดูกโคนแขน วัยผู้ใหญ่ แหล่งสร้าง คือ ไขกระดูก โดยเฉพาะ กระดูกแผ่นบางๆ เช่น กระดูกอก กระดูกซี่โครง กระดูกไหปลาร้า และกระดูกกะโหลกบางส่วน

23 Red blood cells (Erythrocyte)
Red blood cells give the blood its red colour.  There are more than 4 or 5 million of them in every cubic millimeter of blood.  A red blood cell can live for up to 120 days. Red blood cells are able to attach to oxygen to carry it within the circulation to the tissues.  When they get to an area where the oxygen is needed, they give it up and pick up carbon dioxide which they carry back to the lungs.  A shortage of red blood cells is called anaemia.  The role of the red blood cell in carrying oxygen explains why very anaemic people usually feel breathless.

24

25 2.2 White Blood Cells (leukocytes)
White blood cells are much less numerous than red (the ratio between the two is around 1:700), have nuclei, participate in protecting the body from infection, consist of lymphocytes and monocytes with relatively clear cytoplasm, and three types of granulocytes, whose cytoplasm is filled with granules.

26 Leukocyte เซลล์เม็ดเลือดขาวสร้างจาก ไขกระดูกสีแดง (red bone marrow) ต่อมน้ำเหลือง ต่อมไทมัส และม้าม (การสร้างขึ้นอยู่กับระดับของสเตอร์รอยด์ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นนอก) เซลล์เม็ดเลือดขาวอาจถูกทำลายโดยเชื้อโรค และมาโครฟาจ (macrophage) ในตับและม้าม เซลล์เม็ดเลือดขาวจะมีประมาณ 1 ใน 600 ของเซลล์เม็ดเลือดแดง ในเด็กแรกเกิดจะมีเซลล์เม็ดเลือดขาวมากกว่าผู้ใหญ่ประมาณ 16,000 เซลล์ / 1 mm3

27 Leukocyte เซลล์เม็ดเลือดขาวอาจแบ่งเป็น 2 พวก ตามลักษณะของอนุภาคเล็กๆ (granule) ที่อยู่ในเซลล์เม็ดเลือดขาวว่าใหญ่หรือเล็ก และติดสีย้อมอย่างไร (สีที่ใช้ย้อมเซลล์เม็ดเลือดขาว คือ สีไรต์สเตน จะติดนิวเคลียสให้เห็นได้ชัดว่าเป็นชนิดใด) 1. พวกแกรนูลโลไซต์ หรือ granular leucocyte คือ พวกที่มีแกรนูลของ lysosome จำนวนมากใน cytoplasm พวกนี้จะสร้างมาจาก ไขกระดูก มีนิวเคลียส มีอายุประมาณ วัน สามารถแยกเป็น 3 พวกย่อยๆโดยการติดสี ดังนี้ neutrophil eosinophil หรือ acidophil basophil 2. พวกอะแกรนูโลไซต์ หรือ agranule leucocyte เป็นพวกที่ไม่มีแกรนูลของ lysosome อยู่ใน cytoplasm พวกนี้ถูกสร้างจากอวัยวะน้ำเหลือง ได้แก่ ต่อมไทมัส ต่อมน้ำเหลือง ม้าม มีอายุประมาณ แบ่งเป็น 2 ชนิด lymphocyte monocyte

28 Granulocytes มีนิวเคลียสขนาดใหญ่เป็นพู สร้างจาก bone marrow มี cytoplasm ค่อนข้างมาก มีแกรนูลกระจายอยู่ทั่ว cytoplasm Eosinophil ทำลายเชื้อโรคโดยการหลั่งเอนไซม์หรือสารเคมี Basophil Neutrophil ทำลายเชื้อโรค โดยวิธี phagocyctosis เป็นพวกแรกที่เข้าทำลายเชื้อโรค และมีอยู่มากที่สุด

29 Agranulocytes Monocyte macrophage มีหน้าที่ ทำลายเชื้อโรคต่าง ๆ ด้วยวิธี phagocyctosis Lymphocyte มี 2 ชนิด ได้แก่ B-lymphocyte สร้างและเจริญที่ bone marrow T-lymphocyte สร้างจาก bone marrow แต่เจริญที่ thymus gland ทั้ง B-cell และ T-cell มีการทำงานที่ค่อนข้างซับซ้อน (ดูในระบบน้ำเหลือง)

30 Macrophage Attacking E.coli (SEM x8,800).

31 Human T-lymphocyte (SEM x12,080).

32 neutrophil เป็นพวกติดสีที่เป็นกลาง สร้างมาจากไขกระดูก มีมาก 60 - 70 %
มีประมาณ 3-4 lope เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวประเภทแรกที่ร่างกายใช้กำจัดสิ่งแปลกปลอม

33 eosinophil เป็นพวกติดสีที่เป็นกรด มี 2 - 4 % สร้างมาจากไขกระดูก
ทำหน้าที่ กำจัดสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้ามาในร่างกาย แต่เลือกกินเฉพาะองค์ประกอบรวมของแอนติเจน - แอนติบอดี (antigen - antibody complex) เท่านั้น และ ทำลายสารที่เป็นพิษที่ทำให้เกิดการแพ้สารของร่างกาย เช่น โปรตีนในอาหาร ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้

34 basophil เป็นพวกติดสีที่เป็นด่าง มี 0.5 - 17 % ทำหน้าที่
จับสิ่งแปลกปลอมโดยวิธี phagocyctosisส แต่ความสามารถจะด้อยกว่าชนิด นิวโตรฟิล และอีโอซิโนฟิลมาก หลั่งสาร haparin เป็นสารที่ป้องกันการแข็งตัวของเลือด

35 lymphocyte มีประมาณ 20 - 25 % มีอายุ 2 - 3 ชั่วโมง
ในขณะที่อยู่ในต่อมน้ำเหลือง จะมีหน้าที่สร้าง antibody ทำลายสิ่งแปลกปลอมโดยวิธี phagocyctosis

36 monocyte มีประมาณ 3 - 5 % มีอายุ 5 - 6 วัน
ทำหน้าที่ กำจัดสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธี phagocytosis มีความสามารถสูงพอๆ กับ neutrophil และ สร้าง antibody ต่อต้านเชื้อโรค

37

38 การจำแนกชนิดของเซลล์เม็ดเลือดขาวตามหน้าที่
ในปัจจุบัน มีการจำแนกชนิดของเซลล์เม็ดเลือดขาวตามหน้าที่ เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. ฟาโกไซโตซิส (phagocytosis) เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ทำลายเชื้อโรคโดยวิธี phagocytosis พวกนี้จะเจริญพัฒนาที่ไขกระดูก บางชนิดมีนิวเคลียสขนาดใหญ่ บางชนิดมีแกรนูลจำเพาะ (enzymatic granule) ได้แก่ เม็ดเลือดขาวชนิด นิวโตรฟิล แอซิโดฟิล เบโซฟิล และโมโนไซต์ 2. ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่สร้างสาร antibody ขึ้นมาต่อต้านสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรค ได้แก่ B - lymphocyte) หรือ B - cell จะเจริญที่ไขกระดูก หรือไปพัฒนาที่เนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่บริเวณลำไส้ มีคุณสมบัติในการสร้าง antibody จำเพาะโดยถ้าเซลล์บีถูกกระตุ้นโดยเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม เซลล์บีจะแบ่งเซลล์ได้ plasma cell (สร้าง antibody ที่จำเพาะเจาะจงทำลาย antigen แต่ละชนิดที่เข้าสู่ร่างกาย) และ memory cell (จะทำหน้าที่จำแอนติเจนนั้นไว้ ถ้าแอนติเจนนั้นเข้าสู่เซลล์ในภายหลัง เซลล์เมมเมอรีจะสร้างแอนติบอดีจำเพาะอย่างรวดเร็วไปทำลายแอนติเจนนั้นๆให้หมดไป T - lymphocyte) หรือ T - cell มีการทำงานซับซ้อนมาก และยังแบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ อีกตามหน้าที่ เซลล์ทีบางชนิดจะกระตุ้นให้เซลล์บีสร้างสารแอนติบอดี และกระตุ้นฟาโกไซต์ให้มีการทำลายสิ่งแปลกปลอมให้รวดเร็วขึ้น เซลล์ทีบางชนิดควบคุมการทำงานของเซลล์บี และฟาโกไซต์ให้อยู่ในสภาพสมดุล และเซลล์ทีบางชนิดจะทำหน้าที่ เป็นเซลล์เมมเมอรีด้วย

39 การทำลายเชื้อโรคของเม็ดเลือดขาว
มี 2 วิธี ได้แก่ 1. phagocytosis เป็นวิธีทำลายเชื้อโรคโดยการกินและย่อยสลายเชื้อโรค 2. immunization เม็ดเลือดขาวบางชนิดจะสร้างสารพวกโปรตีนที่มีคุณสมบัติต่อต้านสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรค สารที่สร้างขึ้น เรียกว่า antibody สิ่งแปลกปลอม เรียกว่า antigen

40 What kind blood cell ?

41

42 2.3 Platelets เกิดจากชิ้นส่วนของ cytoplasm ของเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ (ชื่อ Megakaryocytes ในกระดูก) ที่แตกออกจากกัน และหลุดเข้าสู่เส้นเลือด ไม่มีนิวเคลียส มีรูปร่างไม่แน่นอน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ไมครอน (มีขนาดเล็กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ 4 เท่า) มีประมาณ แสนชิ้น / เลือด 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร มีอายุสั้นประมาณ วันเท่านั้น มีหน้าที่ ช่วยให้เลือดแข็งตัว (blood clotting) โดยการสร้างสารทรอมโบพลาสติน (tromboplastin) ออกมา

43 Megakaryocyte

44 Platelets Platelets are really bits of much bigger cells called megakaryocytes. A normal platelet count is between 140,000 and 340,000 per millimeter of blood. Platelets are very important in blood clotting.  They clump together to form a plug to stop bleeding and then secrete other chemicals that help the blood to clot and the blood vessel to be repaired

45 THROMBOCYTES - PLATELETS

46 Human Red Blood Cells, Platelets and T-lymphocyte (erythocytes = red; platelets = yellow; T-lymphocyte = light green) (SEM x 9,900).

47

48

49

50 การแข็งตัวของเลือดเมื่อเกิดบาดแผล
มี 4 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ ขั้นที่ 1 เกิดสาร Tromboplastin จากเพลตเลตและเนื้อเยื่อที่ได้รับอันตราย ขั้นที่ 2 Tromboplastin ที่เกิดขึ้นจะไปเปลี่ยน Prothrombin ให้กลายเป็น Thrombin โดยอาศัยแคลเซียมอิออน และปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดบางตัวในพลาสมาเข้าช่วย โดย Prothrombin สร้างมาจากตับโดยอาศัยวิตามิน K ขั้นที่ 3 Thrombin จะไปเปลี่ยน Fibrinogen ในเลือดให้เป็น Fibrin ขั้นที่ 4 Fibrin เส้นเล็กๆที่เกิดขึ้นจะรวมตัวกันเป็นเส้นใยไฟบริน โดยการช่วยเหลือจาก Ca2+ และปัจจัยที่ทำให้ไฟบรินอยู่ตัว และไปประสานกันเป็นร่างแห ต่อมาจะมี เพลตเลต และเม็ดเลือดต่างๆมาเกาะบนร่างแห จึงทำให้เลือดหยุดไหล

51 แผนภาพขบวนการแข็งตัวของเลือด
คนที่ขาดวิตามิน K ทำให้เลือดแข็งตัวช้า เพราะวิตามิน K มีความ จำเป็นในการสร้างโพรทรอมบิน

52 Clot mechanism Roles of: platelets, active factors (IX through XIII), thrombin, and fibrin a. A cascade of events results in formation of a clot b. Thrombin stimulates : * fibrin formation and cross-linking of fibrin * more platelet aggregration (positive feedback) * activation of more thrombin (positive feedback) C. Dissolution of the clot: Roles of plasmin and WBC

53 Clot mechanism

54 The formation and actions of blood clots.

55 blood clots

56 The Blood Clot

57 Blood Clot Formation (blood cells, platelets, fibrin clot) (SEM x10,980).

58 Leukemia หมายถึง โรคที่เกิดจากจำนวนเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดใดชนิดหนึ่ง (lymphocyte หรือ phagocyte) เพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างควบคุมไม่ได้ เพราะขาดปัจจัยบางอย่างที่จะมาควบคุมการแบ่งตัวของเซลล์ ทำให้มีการแบ่งตัวไปเรื่อยๆ ไม่หยุดยั้ง ผู้ป่วยจะมีความต้านทานต่อการติดเชื้อต่ำ มี phagocytosis ไม่ดี ถ้ามีเซลล์เม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ เรียกว่า Leucopenia อาจเกิดจากเชื้อไทฟอยด์ หรือได้รับสารกัมมันตรังสีมากเกินไป ทำให้เซลล์เม็ดเลือดขาวถูกทำลายได้

59 Hemophilia หมายถึง โรคที่โลหิตไหลออกจากบาดแผลไม่ยอมหยุดทั้งๆ ที่บาดแผลมีขนาดเล็ก เป็นโรคทางพันธุกรรม มักเกิดกับเพศชายมากกว่าเพศหญิง เชื่อว่าเกิดจากการขาดปัจจัยที่สำคัญบางอย่างที่ทำให้เลือดแข็งตัวไม่ได้ หรือได้แต่ไม่สมบูรณ์ เราเรียกปัจจัยที่ขาดไปนี้ว่า Factor VIII หรือ AHG = Anti - hemophilic globulin

60 โรคโลหิตจาง หมายถึง โรคที่เกิดจากร่างกายมีเซลล์เม็ดเลือดแดง (erythrocyte) น้อยกว่าปกติ (น้อยกว่า 3.5 ล้านเซลล์ต่อเลือด 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร) หรือเกิดจากเซลล์ของเม็ดเลือดแดงแต่ละเซลล์มี haemoglobin น้อย สาเหตุ เกิดจากการรับประทานอาหารไม่เพียงพอ ทำให้ขาดธาตุเหล็ก (Fe) ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้าง haemoglobin หรืออาจเกิดจากการขาดวิตามิน B12 โรคโลหิตจางไม่อาจตัดสินได้ด้วยตา เพื่อให้แน่นอนควรวัดจากจำนวนเซลล์เม็ดเลือดแดง / 1 ลูกบาศก์เมตร หรือวัดจากความเข้มข้นของสี haemoglobin

61 โรคเลือดข้นผิดปกติ หมายถึง โรคที่เกิดมาจากเซลล์เม็ดเลือดแดง มีจำนวนมากกว่าปกติ (มากกว่า 6 ล้าน 5 แสนเซลล์ / 1 mm3) ทำให้เลือดมีความหนืดมาก และหัวใจต้องทำงานหนักกว่าปกติ

62 AIDS AIDS มาจากคำเต็มว่า Acuquired immune Deficiency Syndrome
เชื้อเอดส์มีชื่อว่า HIV มาจากคำเต็มว่า  Human Immunodeficiency Virus เมื่อไวรัสเอดส์เข้าสู่ร่างกายจะเข้าไปภายในเซลล์บางชนิดของร่างกาย  จะมีการฟักตัวระยะหนึ่งซึ่งอาจนานเป็นปีหรือนานกว่า 10 ปี โดยไม่มีอาการผิดปกติใด ๆ   ต่อมาไวรัสจะเพิ่มจำนวนมากขึ้นและแพร่กระจายไปทั่วร่างกาย  จนสามารถทำลายภูมิคุ้มกันของร่างกายให้เสื่อมหรือเสียไปเรื่อย ๆ   ผู้ป่วยจึงมักมีการติดเชื้อโรคต่างๆได้ง่าย  ในที่สุดร่างกายก็ไม่สามารถทนทานได้  และจะเสียชีวิตในที่สุด

63 หมู่เลือด และการให้เลือด
เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงมี glycoproteins  ชนิดต่าง ๆ เราเรียกว่า Antigen ทำให้สามารถจำแนกหมู่เลือดออกเป็นหมู่ต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่หลายระบบ เช่น ระบบ ABO ระบบ Rh ระบบ MN เป็นต้น ใน plasma พบว่ามี Antibody ที่จำเพาะต่อหมู่เลือด       

64 หมู่เลือด และการให้เลือด
ในปี 1900 Karl Landsteiner ได้ใช้ลักษณะของ Agglutinogen (Antigen) A หรือ B ที่อยู่ที่ผิวเม็ดเลือดแดง มาแบ่งเลือดออกเป็น 4 หมู่ ใหญ่ คือ A , B , AB และ O มี Antibody ที่จำเพาะต่อหมู่เลือด 2 ชนิด คือ Antibody A และ Antibody B

65 Antigen - protein on the surface of a specific red blood cell; acts as an identification marker

66 Antibody - protein produced by body's immune system to combat foreign substances

67

68

69

70 หมู่เลือด และการให้เลือด
ผู้ให้และผู้รับควรมีหมู่เลือดเดียวกัน จึงปลอดภัยที่สุด หรือ เลือดของผู้ให้ต้องไม่มี Antigen ตรงกับ Antibody ของผู้รับ เพราะจะทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงของผู้รับ จับตัวกัน ตกตะกอน

71 การให้เลือดต่างหมู่สามารถทำได้ดังนี้

72 หมูเลือด Rh หมูเลือด Rh
LANDSTEINER และ WIENER ได้ค้นพบระบบหมู่เลือดอีกแบบหนึ่งที่รู้จักกันดีในปัจจุบันนี้ กล่าวคือ คนส่วนใหญ่จะมีแอนติเจน Rh อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงแต่ไม่มีแอนติบอดี Rh ในน้ำเลือด เรียกว่าหมู่ Rh+ บางคนไม่มีแอนติเจน Rh อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงและไม่มีแอนติบอดี Rh ในน้ำเลือด เรียกว่าหมู่ Rh- ถ้าคนที่มีเลือด Rh- ได้รับเลือดจากคนที่มีเลือด Rh+ เข้าไปในร่างกายของ ผู้รับจะถูกกระตุ้นให้สร้างแอนติบอดี Rh ขึ้น ในการรับเลือด Rh+ ครั้งต่อไป แอนติบอดี Rh จะทำปฏิกิริยากับแอนติเจน Rh ทำให้เกิดอันตรายขึ้น

73 Erythroblastosis fetalis
Erythroblastosis fetalis เป็นอาการของเด็กทารกที่เกิดจากคู่สมรสที่มีสามีมีเลือด Rh+ ภรรยามีเลือด Rh- เลือดของลูกคนแรกอาจกระตุ้นให้แม่สร้างแอนติบอดี Rh ขึ้น เมื่อมีครรภ์ครั้งต่อมา และทารกมีเลือด Rh+ อีกจะเกิดอันตรายขึ้นได้ เนื่องจากปฏิกิริยาระหว่างแอนติบอดีในเลือดแม่กับแอนติเจน Rh ในเลือด ลูก ทารกอาจมีอาการตัวเหลืองหรือเสียชีวิตได้

74 What is the cause of Rh incompatibility?
During childbirth some of the baby’s Rh-positive blood can escape into the blood stream of the mother. Rh incompatibility only arises when a woman’s blood is Rh- and her baby’s blood is Rh+ (thus the baby’s father’s blood must also be Rh-positive).

75 http://www. biologymad. com/master. html. http://www. biologymad

76 Reference http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/celltheory.htm

77 Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง การลำเลียงสารในร่างกายคน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google